観光 | バンコク情報 | タイ王立空軍博物館
タイ王立空軍博物館
 
 1913年よりモンクット王を最初として、王室航空部隊の設立より現在の空軍にいたる発展の過程や長い歴史の中で保存されてきた飛行機、自動車航空関連部品や様々な書類を時代の変化をたどって知ることができます。時が経つにつれ失われていく価値ある戦闘の歴史を後世に残すことなくそのままにしておくのは非常に残念なことです。
現役での活躍を終えたこれらの飛行機は1952年に設立されたタイ王立空軍博物館に保存されています。その目的は、後代のために時代順にあらゆる戦闘品や平和交渉のために使われたものをまとめて保存することです。
これらの飛行機は、以前はドンムアン空港西側の飛行機保管施設に展示されていましたが、展示品が増えるにつれて、一般公開はされないままでした。そこで空軍が1968年3月26日に博物館棟を建設、翌年1969年1月29日より一般公開となりました。
นับตั้งแต่ปีพ.ศ.2456ซึ่งเป็นปีแรกที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน กิจการการบินไทย โดยทรงตั้งเป็นแผนกการบิน จนกระทั่งได้วิวัฒนาการมาเป็น “กองทัพอากาศ” ใน ปัจจุบัน นับเป็นเป็นเวลานานพอสมควร บรรดาเครื่องบิน เครื่องยนต์ อุปกรณ์การบิน ตลอดจนเอกสาร ต่างๆได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยจึงเป็นเรื่องน่าเสียดายหากจะปล่อยให้ยุทธภัณฑ์อันทรง คุณค่าเหล่านี้ต้องสูญหายไปตามกาลเวลา
เครื่องบินต่างๆ ที่ปลดประจำการเหล่านี้จึงถูกนำมาเก็บไว้ที่ “พิพิธภัณฑ์ของกองทัพอากาศ” ซึ่งก่อ ตั้งขึ้นโดยกองทัพอากาศเมื่อพ.ศ.2495โดยมีจุดประสงค์เพื่อรวบรวมยุทธภัณฑ์และสันติภัณฑ์ทุก ประเภทตามยุคตามสมัยเป็นลำดับ เพื่อเป็นประโยชน์แก่อนุชนรุ่นหลัง
แต่เดิมนั้นเครื่องบินเหล่านี้จัดแสดงอยู่ที่โรงเก็บเครื่องบิน ด้านทิศตะวันตกของสนามบินดอนเมืองแต่ ยังไม่ได้เปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าชมเมื่อรวบรวมพัสดุภัณฑ์ได้มากขึ้นกองทัพอากาศจึงได้จัดสร้าง อาคารพิพิธภัณฑ์ขึ้นใหม่เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2511 และเปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าชมเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2512 เป็นต้นมา
 
タイ王立空軍博物館
 
 博物館は5つのセクションに分けられます。
第1棟 空軍の父であるモンクット王について、飛行機の歴史紹介、第2次世界大戦後にタイで航空事業をはじめた人々の紹介、タイ人がデザインした航空機の紹介をしています。
第2棟 希少な航空機が数多くあり非常に興味深い棟です。世界中でここにしか現存しない機体もいくつかあります。たとえば戦闘型航空機タイプ1(コーシェー)、インドシナ戦争で実戦使用された追撃機10型(ホーク3)なども展示されています。
第3棟 国内のテロリストを鎮圧した航空機器を展示。現在はT28型機だけ展示されており、月曜日から金曜日のみ観覧可能です。
第4棟 過去から現在に渡る空軍兵器などの軍事用品、銃、補給品そして飛行機による海外渡航の変容に関する展示やタイ人がデザイン、設計した初めてのプロペラ機も展示されています。
第5棟 第2次世界大戦以降の戦闘機から、初期の戦闘機で大戦時にはイギリス最高の機体であったボーコー14(スピードファイヤー)まで展示。この機体はイギリス軍とドイツ軍が第1次世界大戦末期に制作したブラックキャットとの戦闘に使用したものです。これはアメリカから提供された追撃機であり、その時には様々なヘリコプターや国王陛下ご専用のヘリコプターも提供されました。
私たちの国土が今もこうしてあるのは、強固な「国の壁」であるタイ国軍の働きによるものです。空軍博物館を訪れることによって、先代の空軍兵士たちが命を顧みずに国を守った姿勢に思いを馳せることができるでしょう。ここが、国をバラバラにするような動きをする人々に「愛国」の言葉を思い起こさせ、警鐘を鳴らす場所となることを願っています。
พิพิธภัณฑ์แบ่งการจัดแสดงเป็น 5 ส่วน
อาคาร 1. เป็นที่ประดิษฐานพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นพระ บิดาแห่งการบิน จัดแสดงประวัติการบิน กลุ่มคนผู้ริเริ่มการบินในเมืองไทย อากาศยานหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 และอากาศยานที่ออกแบบโดยคนไทย
อาคาร 2. เป็นอาคารที่น่าสนใจมาก เพราะจัดแสดงอากาศยานที่หาชมได้ยาก บางเครื่อง เหลือเพียงเครื่องเดียวในโลก อาทิ เครื่องบินโจมตีแบบที่ 1 (คอร์แชร์) เคยปฏิบัติการรบใน สงครามอินโดจีน เครื่องบินขับไล่แบบที่ 10 (ฮอร์ค 3) เคยทำการรบจริงในสงครามอินโดจีน เป็นต้น
อาคาร 3. จัดแสดงอากาศยานปราบปรามผู้ก่อการร้ายในประเทศ มีเพียงเครื่องเดียว เป็น เครื่องบิน T 28 ซึ่งอาคารนี้เปิดให้ชมเฉพาะวันจันทร์-วันศุกร์เท่านั้น
อาคาร 4. จัดแสดงพัสดุภัณฑ์ อาทิ เครื่องแบบทหารอากาศตั้งแต่อดีตตั้งแต่อดีต-ปัจจุบัน อาวุธปืน พัสดุพลาธิการ นิทรรศการถาวรเรื่อง “การบินเดินทางไปเยือนต่างประเทศ โดย เครื่องบินแบบบริพัตร” ซึ่งเป็นเครื่องบินลำแรกที่ออกแบบและสร้างโดยคนไทย
อาคาร 5. จัดแสดงอากาศยานยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงยุคไอพ่น เครื่องบินไอพ่น แบบแรกๆ เช่น บ.ข. 14 (สปีดไฟร์) เป็นเครื่องบินที่ดีที่สุดของอังกฤษในสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งอังกฤษใช้ต่อสู้กับเยอรมัน บ. แบร์แคท สร้างในตอนปลายสงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นเครื่อง บินขับไล่ที่สหรัฐอเมริกาให้ความช่วยเหลือรวมทั้งมีเฮลิคอปเตอร์แบบต่างๆและเฮลิคอป เตอร์พระที่นั่งจัดแสดงด้วย
กว่าที่เราจะมีชาติบ้านเมืองมาจนถึงทุกวันนี้ได้ ก็เพราะมี “รั้วของชาติ” ที่เข้มแข็งนั่นเอง การได้มาเที่ยวชม “พิพิธภัณฑ์ของกองทัพอากาศ” ทำให้เราได้ระลึกถึงวีรกรรมของบรรพบุรุษ ของกองทัพอากาศที่ยอมสละเลือดเนื้อแม้กระทั่งชีวิตในการป้องกันประเทศหวังว่าพิพิธภัณฑ์ แห่งนี้จะเป็นเหมือนเครื่องเตือนใจให้คนไทยบางกลุ่มบางพวกที่กำลังสร้างความแตกแยกขึ้น ในบ้านเมือง ให้รู้สำนักกับคำว่า “รักชาติ” มากขึ้น
 
 
DATA
●開館日時 9:00~16:00 毎日入場可能
  (祝日除く)
●料金 無料
●アクセス
路線バス 34、39、114、346
エアコンバス 3、21、25、34、39、114、356
南方向から行く場合は、サパーンマイ、プミポンアドゥンヤデート病院を通ります。
北方向から行く場合は、空軍経理局、空軍学校を通ります。
●วันและเวลาทำการ
พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศ เปิดให้เข้าชมทุกวัน(เว้นวันหยุด นักขัตฤกษ์) ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐-๑๖.๐๐น.
●ไม่เสียค่าผ่านประตู
●การเดินทาง
รถประจำทางสาย ๓๔, ๓๙, ๑๑๔, ๓๕๖
รถประจำทางปรับอากาศสาย ๓, ๒๑, ๒๒, ๒๕, ๓๔, ๓๙, ๑๑๔, ๓๕๖
การเดินทางจากทิศใต้จะผ่านสะพานใหม่,โรงพยาบาลภูมิ พลอดุลยเดชส่วนการเดินทางจากทิศเหนือจะผ่านกอง บัญชาการกองทัพอากาศ, โรงเรียนนายเรืออากาศ